ธาตุอาหารเสริม ( Zn,Fe,Mn,B,Cu,Mo )
ธาตุสังกะสี - Zinc
หน้าที่สำคัญของธาตุสังกะสีในพืช
- ช่วยให้พืชแตกใบอ่อนได้ดีขึ้น
- เสริมสร้างเมล็ด
- เสริมสร้างฮอร์โมนต่าง ๆ ในพืช
- เสริมสร้างการสุกการแก่ของผลไม้
- เสริมสร้างความสูงและการยืดของต้น
- ช่วยในการสังเคราะห์โปรตีน
- ช่วยเสริมสร้างให้พืชมีความต้านทานต่อโรคพืชต่าง ๆ
- มีส่วนสำคัญในระบบของเอนไซม์ที่จะไปกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช
- มีส่วนสำคัญในการเสริมสร้างสารคลอโรฟีลล์(สีเขียว) ของพืช
- มีส่วนสำคัญในการเคลื่อนย้ายพวกคาร์โบไฮเดรตและกระตุ้นการใช้น้ำตาลในพืช
- ทำหน้าที่เสมือนตัวต่อต้านความหนาวเย็น หรือทำหน้าที่เสมือนเป็นผ้าห่มให้แก่ต้นพืชเมื่อมีอากาศหนาวเย็น
- ช่วยให้พืชไม่ชะงักการเจริญเติบโตเมื่อมีอากาศหนาวเย็น
การแสดงอาการของพืชที่ขาดธาตุสังกะสี
- แสดงอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ
- เส้นกลางของใบอ่อนจะแตกเป็นเส้นย่อย ๆ
- เกิดจุดสีน้ำตาลที่ใบแก่ ต่อมาจุดสีน้ำตาลจะขยายตัวติดต่อกัน ทำให้ใบเป็นสีน้ำตาล
- พืชจะมีการเจริญเติบโตช้า หรือเติบโตไม่ดีเท่าที่ควร
- ในพืชต้นเล็ก ถ้าขาดอย่างรุนแรงจะทำให้พืชตายได้
- ทำให้การสุกแก่ของผลไม้ช้ากว่าปกติ
- ทำให้ผลผลิตต่ำ
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุสังกะสี
- ในดินที่มีความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) 4.0-5.0 และ 7.0 ขึ้นไป
- ในดินที่มีธาตุสังกะสีที่เป็นประโยชน์ต่ำหรือมีปริมาณน้อย
- ในดินที่มีธาตุฟอสฟอรัสมาก
- ในดินที่มีธาตุไนโตรเจนมาก
- ในดินที่ถูกน้ำกัดเซาะมาก รวมทั้งดินที่มีการซึมลึกของน้ำมาก
- ในช่วงที่มีอากาศหนาวเย็น ดินเย็น หรือมีอุณหภูมิต่ำ
- ในดินที่มีการไถลึก 6 นิ้ว
- ในดินที่ใส่ปูนมากเกินไป
- ในดินที่สูญเสียธาตุสังกะสีมากหลังจากเก็บเกี่ยวพืชผลแล้ว
- ช่วยให้พืชแตกใบอ่อนได้ดีขึ้น
- เสริมสร้างเมล็ด
- เสริมสร้างฮอร์โมนต่าง ๆ ในพืช
- เสริมสร้างการสุกการแก่ของผลไม้
- เสริมสร้างความสูงและการยืดของต้น
- ช่วยในการสังเคราะห์โปรตีน
- ช่วยเสริมสร้างให้พืชมีความต้านทานต่อโรคพืชต่าง ๆ
- มีส่วนสำคัญในระบบของเอนไซม์ที่จะไปกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช
- มีส่วนสำคัญในการเสริมสร้างสารคลอโรฟีลล์(สีเขียว) ของพืช
- มีส่วนสำคัญในการเคลื่อนย้ายพวกคาร์โบไฮเดรตและกระตุ้นการใช้น้ำตาลในพืช
- ทำหน้าที่เสมือนตัวต่อต้านความหนาวเย็น หรือทำหน้าที่เสมือนเป็นผ้าห่มให้แก่ต้นพืชเมื่อมีอากาศหนาวเย็น
- ช่วยให้พืชไม่ชะงักการเจริญเติบโตเมื่อมีอากาศหนาวเย็น
การแสดงอาการของพืชที่ขาดธาตุสังกะสี
- แสดงอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ
- เส้นกลางของใบอ่อนจะแตกเป็นเส้นย่อย ๆ
- เกิดจุดสีน้ำตาลที่ใบแก่ ต่อมาจุดสีน้ำตาลจะขยายตัวติดต่อกัน ทำให้ใบเป็นสีน้ำตาล
- พืชจะมีการเจริญเติบโตช้า หรือเติบโตไม่ดีเท่าที่ควร
- ในพืชต้นเล็ก ถ้าขาดอย่างรุนแรงจะทำให้พืชตายได้
- ทำให้การสุกแก่ของผลไม้ช้ากว่าปกติ
- ทำให้ผลผลิตต่ำ
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุสังกะสี
- ในดินที่มีความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) 4.0-5.0 และ 7.0 ขึ้นไป
- ในดินที่มีธาตุสังกะสีที่เป็นประโยชน์ต่ำหรือมีปริมาณน้อย
- ในดินที่มีธาตุฟอสฟอรัสมาก
- ในดินที่มีธาตุไนโตรเจนมาก
- ในดินที่ถูกน้ำกัดเซาะมาก รวมทั้งดินที่มีการซึมลึกของน้ำมาก
- ในช่วงที่มีอากาศหนาวเย็น ดินเย็น หรือมีอุณหภูมิต่ำ
- ในดินที่มีการไถลึก 6 นิ้ว
- ในดินที่ใส่ปูนมากเกินไป
- ในดินที่สูญเสียธาตุสังกะสีมากหลังจากเก็บเกี่ยวพืชผลแล้ว
ธาตุเหล็ก - IRON
ธาตุเหล็ก จะพบในดินมากโดยทั่วไป แต่จะเป็นธาตุเหล็กที่ไม่ได้อยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชเป็นส่วนมาก ปัญหาการขาดธาตุเหล็กของพืชไม่ใช่เกี่ยวกับปริมาณของธาตุเหล็กในดิน ปัญหาเกิดจากการไม่ละลายและความเป็นประโยชน์ต่อพืชของธาตุเหล็ก ดินที่มีความเป็นกรดมากจะทำให้ธาตุเหล็กไม่เกิดประโยชน์ต่อพืช และดินที่มีความเป็นด่างมากก็จะทำให้ธาตุเหล็กไม่เกิดประโยชน์ต่อพืชเช่นกัน ส่วนในดินที่มีน้ำขังจะทำให้ธาตุเหล็กมีประโยชน์ต่อพืชสูงขึ้น
หน้าที่สำคัญของธาตุเหล็ก
- ช่วยเสริมสร้างความเขียวหรือสารคลอโรฟีลล์ในใบพืชแต่ไม่ได้เป็นส่วนของคลอโรฟีลล์
- ช่วยในการสังเคราะห์แสงในใบพืชได้ดี เพื่อสร้างแป้งและน้ำตาล
- ช่วยเสริมสร้างเอนไซม์ในพืชเพื่อช่วยในระบบการหายใจของพืชทำให้พืชเจริญเติบโต
- ทำหน้าที่ช่วยเหลือในการแบ่งเซลล์ของพืชเพื่อการเจริญเติบโต
- พืชต้องการเหล็กในปริมาณน้อยประมาณหนึ่งในร้อยส่วนเมื่อเทียบกับธาตุไนโตรเจน
- ช่วยเสริมสร้างความเขียวหรือสารคลอโรฟีลล์ในใบพืชแต่ไม่ได้เป็นส่วนของคลอโรฟีลล์
- ช่วยในการสังเคราะห์แสงในใบพืชได้ดี เพื่อสร้างแป้งและน้ำตาล
- ช่วยเสริมสร้างเอนไซม์ในพืชเพื่อช่วยในระบบการหายใจของพืชทำให้พืชเจริญเติบโต
- ทำหน้าที่ช่วยเหลือในการแบ่งเซลล์ของพืชเพื่อการเจริญเติบโต
- พืชต้องการเหล็กในปริมาณน้อยประมาณหนึ่งในร้อยส่วนเมื่อเทียบกับธาตุไนโตรเจน
การแสดงอาการของพืชที่ขาดธาตุเหล็ก
- ใบพืชจะมีสีซีดจางไม่เขียว แสดงอาการของสารคลอโรฟีลล์
- จะทำให้ระบบของรากพืชไม่พัฒนา
- พืชเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ
- เส้นกลางใบพืชจะมีสีซีดจาง
- ถ้าพืชขาดธาตุเหล็กในปริมาณมากจะทำให้ผลผลิตลดลง
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุเหล็ก
- ในดินที่มีค่าของความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) ตั้งแต่ 6.0 ขึ้นไป
- ในดินที่ขาดการให้ธาตุเหล็กที่เป็นประโยชน์ เช่น เหล็กคีเลท
- ในดินที่มีการไถลึก และดินที่ถูกน้ำกัดเซาะ
- ในดินที่มีความชื้นสูงและมีอุณหภูมิในดินต่ำก่อนและหลังปลูกพืช
- ในดินที่แน่นมาก เช่น ดินเหนียว
- ในดินที่ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตมาก
- ธาตุเหล็กไม่เคลื่อนย้ายจากใบเก่าสู่ใบใหม่ ดังนั้นเมื่อมีใบใหม่ออกมาต้องให้ธาตุเหล็กเสมอ เพื่อไม่ให้พืช ขาดธาตุเหล็ก
- ในช่วงที่มีอากาศเย็น ดินเย็น พืชจะดูดธาตุเหล็กได้น้อยมาก
- การฉีดพ่นธาตุเหล็กคีเลททางใบพืชจะให้ประโยชน์แก่พืชมากกว่าให้ทางดิน
- ใบพืชจะมีสีซีดจางไม่เขียว แสดงอาการของสารคลอโรฟีลล์
- จะทำให้ระบบของรากพืชไม่พัฒนา
- พืชเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ
- เส้นกลางใบพืชจะมีสีซีดจาง
- ถ้าพืชขาดธาตุเหล็กในปริมาณมากจะทำให้ผลผลิตลดลง
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุเหล็ก
- ในดินที่มีค่าของความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) ตั้งแต่ 6.0 ขึ้นไป
- ในดินที่ขาดการให้ธาตุเหล็กที่เป็นประโยชน์ เช่น เหล็กคีเลท
- ในดินที่มีการไถลึก และดินที่ถูกน้ำกัดเซาะ
- ในดินที่มีความชื้นสูงและมีอุณหภูมิในดินต่ำก่อนและหลังปลูกพืช
- ในดินที่แน่นมาก เช่น ดินเหนียว
- ในดินที่ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตมาก
- ธาตุเหล็กไม่เคลื่อนย้ายจากใบเก่าสู่ใบใหม่ ดังนั้นเมื่อมีใบใหม่ออกมาต้องให้ธาตุเหล็กเสมอ เพื่อไม่ให้พืช ขาดธาตุเหล็ก
- ในช่วงที่มีอากาศเย็น ดินเย็น พืชจะดูดธาตุเหล็กได้น้อยมาก
- การฉีดพ่นธาตุเหล็กคีเลททางใบพืชจะให้ประโยชน์แก่พืชมากกว่าให้ทางดิน
ธาตุทองแดง - Copper หน้าที่สำคัญของธาตุทองแดง
- ทำหน้าที่ในการช่วยสร้างสารคลอโรฟีลล์(สีเขียว)
- ทำหน้าที่เพิ่มความหวานในผลไม้
- ทำหน้าที่เพิ่มกลิ่นในผลไม้และผัก
- ทำหน้าที่เพิ่มความเข้มของสี
- เป็นตัวจักรสำคัญในการสังเคราะห์แสง
- เป็นตัวจักรสำคัญในระยะการผลิตดอกและผล
- เร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ในพืช
- ผลิตเอนไซม์ที่มีหน้าที่ในการหายใจของพืช
- การแสดงอาการของพืชที่ขาดธาตุทองแดง
- มีข้อใบสั้น
- ยอดที่เกิดใหม่จะแสดงอาการตายจากปลายยอดลงมา
- ใบจะมีสีซีดและจะไหม้ตายไปในที่สุด
- ในพืชพวกมะเขือ ใบจะหนาและมีสีเขียวเข้ม ใบอ่อนจะม้วนขึ้นมีจุดสีจาง ๆ และในใบแก่จะเหี่ยวเฉาเหมือน
- ทำหน้าที่เพิ่มความหวานในผลไม้
- ทำหน้าที่เพิ่มกลิ่นในผลไม้และผัก
- ทำหน้าที่เพิ่มความเข้มของสี
- เป็นตัวจักรสำคัญในการสังเคราะห์แสง
- เป็นตัวจักรสำคัญในระยะการผลิตดอกและผล
- เร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ในพืช
- ผลิตเอนไซม์ที่มีหน้าที่ในการหายใจของพืช
- การแสดงอาการของพืชที่ขาดธาตุทองแดง
- มีข้อใบสั้น
- ยอดที่เกิดใหม่จะแสดงอาการตายจากปลายยอดลงมา
- ใบจะมีสีซีดและจะไหม้ตายไปในที่สุด
- ในพืชพวกมะเขือ ใบจะหนาและมีสีเขียวเข้ม ใบอ่อนจะม้วนขึ้นมีจุดสีจาง ๆ และในใบแก่จะเหี่ยวเฉาเหมือน
- อาการขาดน้ำ
- ถ้าพืชขาดมากจะทำให้พืชเติบโตช้า
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุทองแดง
- ในดินที่มีความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) 4.5-5.0 และ 7.0 ขึ้นไป
- ในดินที่มีอินทรีย์วัตถุสูง เพราะดินชนิดนี้จะไม่ยึดธาตุทองแดงไว้
- ในดินทรายที่น้ำซึมลึกพาเอาธาตุทองแดงลงไปมาก
- ในดินที่มีธาตุฟอสฟอรัสสูง ทำให้พืชดูดธาตุทองแดงได้น้อย
- ในดินที่มีอนุมูลเป็นจำนวนมากของธาตุอะลูมินั่ม ธาตุสังกะสี ธาตุเหล็ก ธาตุแมงกานีส
- เมื่อมีการขาดธาตุทองแดงในพืช จะทำให้พืชขาดธาตุอื่น ๆ ด้วย รวมทั้งธาตุไนโตรเจน
- ธาตุทองแดงเป็นธาตุที่ไม่เคลื่อนย้ายจากใบแก่ไปสู่ใบอ่อนที่แตกออกมาใหม่ ดังนั้นต้องฉีดพ่นให้อยู่เสมอ
- ถ้าพืชขาดมากจะทำให้พืชเติบโตช้า
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุทองแดง
- ในดินที่มีความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) 4.5-5.0 และ 7.0 ขึ้นไป
- ในดินที่มีอินทรีย์วัตถุสูง เพราะดินชนิดนี้จะไม่ยึดธาตุทองแดงไว้
- ในดินทรายที่น้ำซึมลึกพาเอาธาตุทองแดงลงไปมาก
- ในดินที่มีธาตุฟอสฟอรัสสูง ทำให้พืชดูดธาตุทองแดงได้น้อย
- ในดินที่มีอนุมูลเป็นจำนวนมากของธาตุอะลูมินั่ม ธาตุสังกะสี ธาตุเหล็ก ธาตุแมงกานีส
- เมื่อมีการขาดธาตุทองแดงในพืช จะทำให้พืชขาดธาตุอื่น ๆ ด้วย รวมทั้งธาตุไนโตรเจน
- ธาตุทองแดงเป็นธาตุที่ไม่เคลื่อนย้ายจากใบแก่ไปสู่ใบอ่อนที่แตกออกมาใหม่ ดังนั้นต้องฉีดพ่นให้อยู่เสมอ
- เมื่อมีใบอ่อนออกมา
- พืชต้องการธาตุทองแดงในปริมาณน้อย แต่ก็ขาดไม่ได้เพื่อการเจริญเติบโตเช่นเดียวกันกับธาตุโมลิบดีนัม
- พืชต้องการธาตุทองแดงในปริมาณน้อย แต่ก็ขาดไม่ได้เพื่อการเจริญเติบโตเช่นเดียวกันกับธาตุโมลิบดีนัม
ธาตุแมงกานีส - Manganese
ธาตุแมงกานีส ที่พบในดินอยู่ในรูปของแมงกานีสไดออกไซด์ และในรูปที่เป็นไฮเดรต หรือในรูปของไอออนประจุบวก(Mn2+)
หน้าที่สำคัญของธาตุแมงกานีส
-เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ต่าง ๆ ในพืช
- ช่วยในการหายใจของพืช เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
- ช่วยสังเคราะห์แสงทำให้เกิดสารคลอโรฟีลล์(สีเขียวในพืช)
- ช่วยเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานเคมี
- ช่วยในการสังเคราะห์โปรตีนในพืชให้เป็นแป้ง เป็นน้ำตาล โดยเฉพาะในผลไม้ที่รับประทานหวานจะมีความหวานเพิ่มขึ้น
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุแมงกานีส
-แสดงอาการใบเหลือง ต้นแคระแกรนไม่เจริญเติบโต
- ใบอ่อนที่แตกออกมาจะซีดขาว
- ใบแก่มีจุดสีน้ำตาล ปลายใบแห้ง
- ใบห้อยลงและเหี่ยวเฉา
- ยอดอ่อนจะแห้งตาย
- ในผลไม้ที่รับประทานหวานจะมีความหวานน้อย
- ช่วยในการหายใจของพืช เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
- ช่วยสังเคราะห์แสงทำให้เกิดสารคลอโรฟีลล์(สีเขียวในพืช)
- ช่วยเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานเคมี
- ช่วยในการสังเคราะห์โปรตีนในพืชให้เป็นแป้ง เป็นน้ำตาล โดยเฉพาะในผลไม้ที่รับประทานหวานจะมีความหวานเพิ่มขึ้น
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุแมงกานีส
-แสดงอาการใบเหลือง ต้นแคระแกรนไม่เจริญเติบโต
- ใบอ่อนที่แตกออกมาจะซีดขาว
- ใบแก่มีจุดสีน้ำตาล ปลายใบแห้ง
- ใบห้อยลงและเหี่ยวเฉา
- ยอดอ่อนจะแห้งตาย
- ในผลไม้ที่รับประทานหวานจะมีความหวานน้อย
ธาตุโมลิบดีนัม - Molybdenum
พืชดูดโมลิบดีนัมในรูปโมลิบเดทที่เป็นอิออนประจุลบ(Mo O4 2-) การดูดใช้จะลดลงได้เมื่อมีอนุมูล ซัลเฟต(SO4 2-) มาแข่งขัน การใส่ปูนเพื่อปรับ พี-เอช ให้สูงถึง 7 จะช่วยส่งเสริมการดูดใช้โมลิบดีนัมในพืช
หน้าที่สำคัญของธาตุโมลิบดีนัม
-ตรึงธาตุไนโตรเจนในพืชตระกูลถั่ว
- มีความสำคัญในการเปลี่ยนไนเตรทในพืชให้เป็นกรดอะมิโนเป็นโปรตีน
- เสริมสร้างการเจริญเติบโตของพืช
- ช่วยให้ผลไม้สุกแก่เร็วขึ้น
- ในผลไม้ที่มีสารไนเตรทสูง โมลิบดีนัมจะทำหน้าที่เปลี่ยนสารไนเตรท ให้เป็นกรด อะมิโน เป็นโปรตีน เป็นน้ำตาล
การแสดงอาการของพืชที่ขาดธาตุโมลิบดีนัม
-แสดงอาการขอบใบแห้งและม้วนงอ
- พื้นที่ระหว่างเส้นใบจะมีสีซีดจางและจะแห้งตายในที่สุด
- ในกรณีที่พืชต้องการ(หิว) มาก ๆ ต้นจะแคระแกรน ติดดอกเล็ก ๆ ถ้าติดผล ๆ จะร่วงอย่างรวดเร็ว
- ในผลไม้จะสุกแก่ช้ากว่าปกติ
- ในผลไม้ที่รับประทานหวานจะไม่ค่อยมีรสหวาน
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุโมลิบดีนัม
- มีความสำคัญในการเปลี่ยนไนเตรทในพืชให้เป็นกรดอะมิโนเป็นโปรตีน
- เสริมสร้างการเจริญเติบโตของพืช
- ช่วยให้ผลไม้สุกแก่เร็วขึ้น
- ในผลไม้ที่มีสารไนเตรทสูง โมลิบดีนัมจะทำหน้าที่เปลี่ยนสารไนเตรท ให้เป็นกรด อะมิโน เป็นโปรตีน เป็นน้ำตาล
การแสดงอาการของพืชที่ขาดธาตุโมลิบดีนัม
-แสดงอาการขอบใบแห้งและม้วนงอ
- พื้นที่ระหว่างเส้นใบจะมีสีซีดจางและจะแห้งตายในที่สุด
- ในกรณีที่พืชต้องการ(หิว) มาก ๆ ต้นจะแคระแกรน ติดดอกเล็ก ๆ ถ้าติดผล ๆ จะร่วงอย่างรวดเร็ว
- ในผลไม้จะสุกแก่ช้ากว่าปกติ
- ในผลไม้ที่รับประทานหวานจะไม่ค่อยมีรสหวาน
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุโมลิบดีนัม
- ในดินที่มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) 4.0-7.0 หรือ ดินเป็นกรด
- ในการใส่ปูนในดินเพื่อปลูกพืชหมุนเวียน
- เมื่อใส่ธาตุเหล็กลงไปในดินหรือฉีดพ่นธาตุเหล็ก ในดินทราย ในดินที่ใส่ปุ๋ยพวกซัลเฟต
- ในการใส่ปูนในดินเพื่อปลูกพืชหมุนเวียน
- เมื่อใส่ธาตุเหล็กลงไปในดินหรือฉีดพ่นธาตุเหล็ก ในดินทราย ในดินที่ใส่ปุ๋ยพวกซัลเฟต
ธาตุโบรอน - Boron หน้าที่สำคัญของธาตุโบรอน
-เพิ่มจำนวนช่อดอก จำนวนผล
- เพิ่มคุณภาพของผลผลิต เช่น รสชาติ
- ช่วยเสริมสร้าง แป้ง และน้ำตาล
- ช่วยพัฒนาขนาดของผลและเมล็ด
- ช่วยในการผสมเกสรของดอก ป้องกันผลร่วง
- สังเคราะห์โปรตีน
- สร้างฮอร์โมนพืช
- ส่งเสริมการสุกการแก่ของผล
- ควบคุมการคายน้ำของผล
- มีบทบาทในการย่อยโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต
- สร้างความต้านทานต่อความหนาวเย็นหรือเมื่อมีอุณหภูมิต่ำ
- สร้างให้พืชมีความต้านทานต่อโรคและแมลง
การแสดงอาการของพืชที่ขาดธาตุโบรอน
-อาการปลายใบพืชเหลืองแล้วขยายตัวลงมาตามขอบใบลงสู่โคนใบ และจะมีจุดน้ำตาลเกิดขึ้นที่ขอบใบ
- ใบมีสีทองใบหนาหงิกงอ ในบางกรณีใบจะมีอาการโค้งงอขึ้นข้างบน
- พืชแตกกิ่งก้านสาขามากผิดปกติและส่วนยอดของกิ่งก้านจะแห้งตาย
- พืชไม่ค่อยออกดอกหรือออกดอกแต่ดอกจะไม่สมบูรณ์ ดอกผสมไม่ติดทำให้ดอกร่วง
- ในพืชผักประเภทหัวจะมีอาการเน่า
- ในพืชที่ให้ผลอยู่จะให้ผลไม่สมบูรณ์ เช่น ส้ม ความหนาของเปลือกจะไม่เท่ากัน และบูดเบี้ยวมีเมือกเหนียว
- เพิ่มคุณภาพของผลผลิต เช่น รสชาติ
- ช่วยเสริมสร้าง แป้ง และน้ำตาล
- ช่วยพัฒนาขนาดของผลและเมล็ด
- ช่วยในการผสมเกสรของดอก ป้องกันผลร่วง
- สังเคราะห์โปรตีน
- สร้างฮอร์โมนพืช
- ส่งเสริมการสุกการแก่ของผล
- ควบคุมการคายน้ำของผล
- มีบทบาทในการย่อยโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต
- สร้างความต้านทานต่อความหนาวเย็นหรือเมื่อมีอุณหภูมิต่ำ
- สร้างให้พืชมีความต้านทานต่อโรคและแมลง
การแสดงอาการของพืชที่ขาดธาตุโบรอน
-อาการปลายใบพืชเหลืองแล้วขยายตัวลงมาตามขอบใบลงสู่โคนใบ และจะมีจุดน้ำตาลเกิดขึ้นที่ขอบใบ
- ใบมีสีทองใบหนาหงิกงอ ในบางกรณีใบจะมีอาการโค้งงอขึ้นข้างบน
- พืชแตกกิ่งก้านสาขามากผิดปกติและส่วนยอดของกิ่งก้านจะแห้งตาย
- พืชไม่ค่อยออกดอกหรือออกดอกแต่ดอกจะไม่สมบูรณ์ ดอกผสมไม่ติดทำให้ดอกร่วง
- ในพืชผักประเภทหัวจะมีอาการเน่า
- ในพืชที่ให้ผลอยู่จะให้ผลไม่สมบูรณ์ เช่น ส้ม ความหนาของเปลือกจะไม่เท่ากัน และบูดเบี้ยวมีเมือกเหนียว
- ในผลจะมีเนื้อในน้อยหรือผลกลวง เช่น ในผลมะเขือเทศและส้มเขียวหวาน
- ส่วนปลายของผลจะช้ำและต่อมาจะเน่า
- สำหรับผลไม้ที่รับประทานหวานจะมีความหวานน้อยกว่าปกติ
- ผลร่วงมาก
- ส่วนปลายของผลจะช้ำและต่อมาจะเน่า
- สำหรับผลไม้ที่รับประทานหวานจะมีความหวานน้อยกว่าปกติ
- ผลร่วงมาก
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุโบรอน
- ในดินที่ไม่มีการปลูกพืชหมุนเวียน
- ในดินที่มีค่าของความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) 4.5-5.0 และ 7.0-8.7
- ในดินที่มีการซึมลึกของน้ำมาก
- ในดินที่ใส่ปูนมากเกินไป
- ในดินที่มีธาตุโพแทสเซียมสูงมาก
- ในดินที่มีธาตุไนโตรเจนสูงมาก
- ในดินที่มีปุ๋ยฟอสฟอรัสต่ำมาก
- ในดินที่เป็นดินทราย
- ในระยะที่มีสภาพอากาศแห้งแล้ง
- ในดินที่มีอินทรีย์วัตถุต่ำ
- ในดินที่มีค่าของความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) 4.5-5.0 และ 7.0-8.7
- ในดินที่มีการซึมลึกของน้ำมาก
- ในดินที่ใส่ปูนมากเกินไป
- ในดินที่มีธาตุโพแทสเซียมสูงมาก
- ในดินที่มีธาตุไนโตรเจนสูงมาก
- ในดินที่มีปุ๋ยฟอสฟอรัสต่ำมาก
- ในดินที่เป็นดินทราย
- ในระยะที่มีสภาพอากาศแห้งแล้ง
- ในดินที่มีอินทรีย์วัตถุต่ำ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น