ดิน ทรัพยากรธรรมชาติที่ควรบำรุงรักษา | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความสำคัญของดิน ดิน เกิดจากการสลายตัวของหินและแร่ ผสมกับซากพืชซากสัตว์ที่ตายทับถมกันเป็นเวลาหลายล้านปี ดินหลังจากเปิดป่าใหม่จะเป็นดินที่อุดมสมบูรณ์ดี ปลูกพืชงามและมีผลผลิตสูง เมื่อใช้ดินทำการเพาะปลูกติดต่อกันเป็นเวลานาน ดินจะมีสภาพเสื่อมโทรมลง ธาตุอาหารหรือปุ๋ยเดิมในดินจะหมดไป รวมทั้งลักษณะการโปร่ง ร่วนซุยของดินก็จะแน่นทึบ ไถพรวนยาก ถ้าไม่แก้ไขปรับปรุง ก็จะทำให้ไม่สามารถปลูกพืชให้ได้ผลผลิตสูงอีกต่อไป ดิน เป็นแหล่งผลิตปัจจัยทั้ง 4 ของมนุษย์ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค นอกจากนี้ดินเปรียบเสมือนเครื่องกรองที่มีชีวิต สามารถนำไปใช้ในการกำจัดของเสียทั้งในรูปของแข็งและของเหลว ดินเป็นแหล่งของจุลินทรีย์หลายชนิดที่สามารถเปลี่ยนสารประกอบต่างๆที่เป็น พิษในดินให้ไปอยู่ในรูปที่ไม่เป็นพิษได้ ดินทำหน้าที่เป็นที่เกาะยึดของรากพืช ไม่ให้ล้ม ให้อากาศแก่รากพืชในการหายใจ และให้ธาตุอาหารพืชเพื่อการเจริญเติบโต ส่วนประกอบของดิน ส่วนประกอบของดินที่เหมาะสมต่อการปลูกพืชจะประกอบด้วย 1 อนินทรียวัตถุ เป็นส่วนที่เกิดจากชิ้นเล็กชิ้นน้อยของแร่และหินต่างๆ ที่สลายตัวโดยทางเคมี กายภาพ และชีวเคมี ทำหน้าที่เป็นแหล่งของธาตุอาหารให้กับพืช และเป็นอาหารของจุลินทรีย์ดิน 2 อินทรียวัตถุ ได้แก่ส่วนที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังหรือการสลายตัวของเศษเหลือของพืชแล สัตว์ที่ทับถมกันอยู่บนดิน ทำหน้าที่ เป็นแหล่งอาหารของจุลินทรีย์ดิน ให้พลังงานแก่จุลินทรีย์ดิน และ ควบคุมสมบัติทางกายภาพของดิน เช่นโครงสร้างดิน ความร่วนซุย การระบายน้ำและการแลกเปลี่ยนอากาศของดิน เป็นต้น มีปริมาณธาตุอาหารพืชต่ำ 3 น้ำ ที่อยู่ในดินนั้น ทำหน้าที่ให้น้ำแก่พืช และช่วยละลายธาตุอาหารต่างๆ ในดิน และขนย้ายอาหารพืช 4 อากาศ ทำหน้าที่ให้ออกซิเจนแก่รากพืช และจุลินทรีย์ในการหายใจ หน้าตัดดิน ดิน มีความลึกหรือความหนา แต่ถ้ามองความลึกนั้นลงไปตามแนวดิ่ง จะเห็นว่าดินนั้นทับถมกันเป็นชั้นๆ ดินที่ทับถมกันเป็นชั้นๆ ตามแนวดิ่งนั้นเรียกว่า หน้าตัดดิน ดังภาพที่ 1.3 ตาม ปกติดินที่เกิดใหม่มักมีอินทรียวัตถุสะสมอยู่ที่ดินบน แต่จะมีปริมาณน้อยในดินล่าง ในระดับที่ลึกลงไปตามแนวหน้าตัดของดินจะพบหินบางชนิดที่กำลังสลายตัวอยู่ใน ชั้นล่างเรียกว่า วัตถุต้นกำเนิดดิน ใต้วัตถุต้นกำเนิดดินลงไปเรียกว่าหินพื้น ซึ่งเป็นชั้นที่ยังไม่ได้ผ่านการสลายตัวผุพัง ราก พืชจะเจริญเติบโต และดูดธาตุอาหารในส่วนที่เป็นดินบนและดินล่าง ซึ่งมีความลึกไม่เท่ากันในดินแต่ละชนิด ดินที่ลึกก็จะมีพื้นที่ที่ให้พืชหยั่งรากและดูดธาตุอาหารได้มากกว่าดินที่ ตื้น ดังนั้นการปลูกพืชให้ได้ผลดีควรพิจารณาความลึกของดินด้วย การเจริญเติบโตของพืช การที่พืชจะเจริญเติบโตเป็นปกติได้นั้นต้องพิจารณาปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ (ภาพที่ 1.4) 1.4.1 แสงสว่าง เป็นแหล่งพลังงานซึ่งพืชใช้ในกระบวนการสังเคราะห์แสง เพื่อสร้างน้ำตาลและแป้ง 1.4.2 อุณหภูมิ อุณหภูมิของดินและของบรรยากาศควบคุมอุณหภูมิภายในต้นพืช กระบวนการต่างๆ ภายในพืช เช่น การสังเคราะห์แสง การหายใจ 1.4.3 ความชื้นหรือน้ำ เป็นวัตถุดิบในกระบวนการสังเคราะห์แสง และทำหน้าที่ต่างๆ มากมายในพืช เช่น ทำให้เซลล์เต่งตัว เป็นตัวกลางในการขนย้ายธาตุอาหาร และอินทรียสาร 1.4.4. ชนิดและปริมาณของก๊าซต่างๆ ในดิน อากาศในดินส่วนใหญ่ประกอบด้วยก๊าซออกซิเจน ไนโตรเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ รากพืชใช้ก๊าซออกซิเจนจากอากาศในดินหายใจ ถ้ามีก๊าซนี้ไม่เพียงพอรากจะไม่เจริญเติบโต ระบบรากไม่ดี ซึ่งทำให้ดูดน้ำและธาตุอาหารได้น้อย 1.4.5. สภาพกรดด่างของดิน นิยมบอกเป็นค่าพีเอช ดินที่มีพีเอช เท่ากับ 7 ถือว่าเป็นกลาง แต่ถ้าต่ำกว่า 7 ก็เป็นดินกรดและสูงกว่า 7 เป็นดินด่าง พืชโดยทั่วไปเจริญเติบโตได้ดีหากดินมีพีเอชใกล้เป็นกลาง 1.4.6. โรคและแมลงศัตรูพืช สิ่งมีชีวิตบางอย่างโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคและแมลงหลายชนิดเป็นศัตรูร้ายแรง ต่อพืช ดังนั้นถ้ามีโรคและแมลงรบกวนมากย่อมจำกัดการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช 1.4.7. ธาตุอาหารในดินและสมบัติต่างๆ ของดิน สมบัติของดินทางเคมี กายภาพ และชีวภาพต่างก็มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชทั้งสิ้น ธาตุอาหารในดินถูกพืชดูดขึ้นไปใช้สร้างผลผลิต และสูญเสียไปจากดินอย่างถาวร ถ้าไม่มีการชดเชยส่วนที่หายไป ดินจะเสื่อมโทรมและมีปัญหาในการผลิตพืชต่อไป ความต้องการธาตุอาหารของพืช ธาตุ อาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชมี 16 ธาตุ ในจำนวนนี้ 3 ธาตุ คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ได้จากน้ำและอากาศ ส่วนธาตุอาหารอีก 13 ธาตุนั้นมาจากดิน (ภาพที่ 1.5) ในบรรดาธาตุอาหารทั้ง 13 ตัวนั้น เอ็น พี เค เป็นธาตุอาหารที่พืชใช้ในปริมาณมากที่สุด ดังนั้นการเพิ่มเติมธาตุอาหารพืชลงไปในดินในรูปของปุ๋ยจึงเน้นเฉพาะ เอ็น พี เค ส่วนธาตุอาหารอีก 10 ตัวนั้น จัดเป็นธาตุอาหารรองและจุลธาตุ หรือธาตุอาหารเสริม ซึ่งอาจจำเป็นต้องมีการใส่ให้กับพืชบ้างหากดินบริเวณที่ปลูกพืชนั้นขาดแคลน เช่น ดินทราย ดินที่เป็นกรดมากไปหรือเป็นด่างมากไปเป็นต้น เมื่อ มีการเก็บเกี่ยวพืชออกไปจากดินในรูปของผล หรือใบก็ตาม ธาตุอาหารต่างๆ ก็จะสูญหายไปกับพืชที่เก็บเกี่ยว โดยจะสูญเสีย เอ็น พี เค มากกว่าธาตุอาหารตัวอื่นๆ ถ้าเราไม่ใส่ธาตุอาหาร เอ็น พี เค เพิ่มเติมลงไปในดิน ดินก็จะมีธาตุอาหารลดลงเรื่อยๆ จนในที่สุดดินก็เสื่อมโทรม และไม่สามารถผลิตพืชได้ เมื่อถึงเวลานั้นการที่จะปรับปรุงบำรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เหมือนเดิม จะใช้เวลานานมาก ดังนั้นเราจึงควรทะนุบำรุงรักษาดินของเราไม่ให้เสื่อมโทรม โดยการใส่ธาตุอาหารพืชลงไปในดินให้เท่ากับการสูญเสียออกไป การสูญเสียธาตุอาหารไปจากดินมีหลายทางคือ 1.5.1 สูญเสียไปกับส่วนของพืชที่เก็บเกี่ยวออกไปจากพื้นที่ปลูก 1.5.2 ถูกชะล้างออกไปจากบริเวณรากพืช โดยเฉพาะอย่างยิ่งไนโตรเจน 1.5.3 สูญหายไปในรูปของก๊าซ กรณีของไนโตรเจน 1.5.4 เกิดการตรึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งฟอสฟอรัส การตรึงหมายถึงธาตุอาหารถูกดินหรือสารประกอบในดินจับไว้ พืชไม่สามารถเอาไปใช้ประโยชน์ได้ (ภาพที่ 1.6) ภาพที่ 1.6 การสูญเสียธาตุอาหารไปจากดินโดยกระบวนการต่างๆ การ สูญเสียธาตุอาหารไปกับพืชที่เก็บเกี่ยวเป็นการสูญเสียที่มากที่สุด ตารางที่ 1.1 - 1.2 แสดงปริมาณธาตุอาหารเอ็น พี เค ที่สูญเสียไปกับเมล็ดและตอซังข้าวโพดที่ปลูกในดินสองชนิด ตารางที่ 1.1 ปริมาณธาตุอาหารที่ข้าวโพดดูดไปใช้ในการสร้างเมล็ดและตอซัง ที่ปลูกในชุดดินลพบุรี จังหวัดนครสวรรค์
การ ใช้ที่ดินเพื่อการผลิตพืชเป็นการกระทำของมนุษย์ที่ก่อให้เกิดความสูญหายของ ปริมาณธาตุอาหารพืชที่อยู่ในดิน เนื่องจากพืชดูดธาตุอาหารที่มีอยู่ในดินเพื่อใช้ในการเจริญเติบโตและสร้างผล ผลิตของพืช ธาตุอาหารบางส่วนจะถูกเก็บสะสมไว้ในส่วนต่างๆของลำต้น ใบและผล เมื่อมนุษย์เก็บเกี่ยว ผลผลิตออกจากพื้นดินที่ปลูก ธาตุอาหารที่ติดอยู่กับผลผลิตก็จะถูกนำออกจากพื้นที่นั้นด้วย หากใช้ที่ดินผลิตพืชเป็นเวลานานโดยปราศจากการทดแทนปริมาณธาตุอาหารที่ติดไป กับผลผลิต ดินในบริเวณ ดังกล่าวจะกลายเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำและไม่สามารถใช้ผลิตพืชได้ใน ที่สุด ดังนั้นเพื่อทดแทนปริมาณธาตุอาหารพืชที่ สูญหายไปกับผลผลิตจำเป็นต้องมีการเพิ่มธาตุอาหารให้กับดินที่ปลูกพืชนั้น ซึ่งจะก่อให้เกิดความสมดุลของธรรมชาติและนำไปสู่การผลิตพืชที่ยั่งยืนตลอดไป การใส่ปุ๋ยเป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถเพิ่มปริมาณธาตุอาหารให้กับดิน (ภาพที่ 1.7) |
ปูแดง,ปูแดง168,ปูแดงไคโตซาน,ปุ๋ยปูแดง,ไคโตซาน,ไคโตซานพืช,ไคโตซานสัตว์,อินทรีย์ปูแดง,สมุนไพรปูแดง,ผงชูรสปูแดง,Poodang,Kitozan,สารไคโตซาน,ตัวแทนจำหน่ายปูแดง,เกษตรปลอดสารพิษ,เกษตรชีวภาพ,ธุรกิจเกษตร,พืชโตไว,เพิ่มผลผลิต,ป้องกันโรค,ป้องกันแมลง,สารปรังปรุงดิน,ชาวสวนไร่นา,ลดปุ๋ย,โอกาสทางธุรกิจ,mlm,ขายตรง,รายได้เสริม,รายได้พิเศษ,ธุรกิจเครือข่าย โทรปรึกษาฟรี 083-0340025
วันพฤหัสบดีที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2552
ส่วนประกอบของดินที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช
สารปรับปรุงดินปูแดง (ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดเม็ด)
สารปรับปรุงดิน ตราปูแดง (ปุ๋ยอินทรีย์)
สูตรพิเศษ ผสม ไคโตซานและซิลิคอน ประกอบด้วยธาตุอาหารที่สำคัญสำหรับพืชทุกชนิด
คุณสมบัติของปุ๋ยอินทรีย์ปูแดง เป็นปุ๋ยอินทรีย์เชิงผสม ในระดับอุตสาหกรรม ผลิตจากมูลสัตว์ต่างๆ ประมาณ 30 % อีก 70 % เป็นบายโปรดักซ์ของโรงงานอุตสาหกรรม นำมาคลุกเคล้ารวมกันแล้วหมักมากกว่า 1 ปี จากนั้นมาบดเป็นผงละเอียด และผสมกับ ซิลิกอน และไคโตซาน แล้วทำการปั้นเม็ด ทำให้ได้ธาตุอาหารครบ ทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ฮอร์โมน และกรดอะมิโนที่จำเป็นสำหรับพืช
ปุ๋ยอินทรีย์ปูแดง ช่วยแก้เรื่องดินในบ้านเรา ซึ่งเป็นกรด เป็นด่างมาก ช่วยเพิ่มปริมาณธาตุอาหารต่าง ๆ ช่วยปรับโครงสร้างดินให้ร่วนซุย เป็นประโยชน์ต่อพืชทุกชนิด จึงทำให้พืชสมบูรณ์แข็งแรง โตไว โตเร็ว ใบเขียวเข้ม ขั้วเหนียว เพิ่มผลผลิต มีรสชาติดี สีสวย อร่อย ได้เกรด A ราคาดีเป็นที่ต้องการของตลาด
ประโยชน์ปุ๋ยอินทรีย์ปูแดง
1. ช่วยปรับโครงสร้างของดิน ทำให้ดินร่วนซุย ดินโปร่ง สามารถซับน้ำความชุ่มชื้นได้ดี
2. ช่วยให้จุลินทรีย์ในดินเจริญเติบโตและสร้างปริมาณมากขึ้น เพื่อทำงานที่เป็นประโยชน์แก่ดินและพืชที่ปลูก
3. ช่วยดูดซับธาตุอาหารในดินไว้ และยังทำหน้าที่ดูดซับปุ๋ยเคมีที่ใส่ในดินให้ทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นไม่ให้สูญหาย หรือสลายไปเร็ว ( เป็นปุ๋ยอินทรีย์ ที่มีธาตุอาหารครบ สามารถใช้เดี่ยว หรือใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมีก็ได้)
4. ช่วยประหยัดการใช้ปุ๋ยเคมีให้น้อยลง ไม่ทำให้ดินแข็งและเป็นกรดหรือด่าง เป็นการลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยและการผลิตของเกษตรกรโดยตรง (การใช้เกษตรอินทรีย์ จะทำให้ดินดีเพิ่มผลผลิตขึ้นเรื่อยๆ )
5. พืชสามารถนำอาหารใช้ได้ทันทีเพราะเป็นปุ๋ยเย็น มีธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรองและจุลธาตุครบ|
6. ใช้ได้ทั้งพืชผักสวนครัว พืชไร่ ไม้ผลต่างๆ และนาข้าว ข้าวโพด สวนปาล์ม สวนยางพารา
7. มีส่วนผสมของฮิวมิกซ์แอซิส ,ไคโตซาน และสารซิลิกอน ทำให้ผนังเซลล์พืชแข็งแรง โดยเฉพาะในข้าว ,ข้าวโพด เมื่อผนังเซลล์พืชแข็งแรงมากขึ้น ส่งผลให้ลำต้นแข็งไม่หักล้มง่าย
8. ลดต้นทุน ทำให้พืชมีภูมิต้านทานโรค ลดการใช้ยา ปลอดภัยต่อสุขภาพ ช่วยเพิ่มผลผลิต มีรายได้เพิ่ม
ธาตุอาหารหลัก : ไนโตรเจน(N) ฟอสฟอรัส(P) โปรแตสเซี่ยม(K)
ธาตุอาหารรอง : แคลเซี่ยม(Ca) แมกนีเซี่ยม(Mg) กำมะถัน(S)
ธาตุอาหารเสริม : แมงกานีส(Mn) โมลิปตินัม(Mo) สังกะสี(Z) คลอรีน(Cl) โบรอน(B) เหล็ก(Fe) ทองแดง(Cu) นิเกิล(Ni) อินทรีย์วัตถุ(Om) ออแกนิคคาร์บอนด์(Oc) แร่ธาตุ วิตามิน และฮอร์โมนต่างๆ
ซุปเปอร์สมุนไพรปูแดง
ซุปเปอร์สมุนไพรปูแดง
ทดแทนสารฆ่าแมลงที่นำเข้าจากต่างประเทศ คุณภาพเยี่ยมทัดเทียมสารฆ่าแมลงจากต่างประเทศไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ปลอดภัยจากผู้ใช้และผู้บริโภคสารป้องกันและกำจัดแมลง เป็นสารชีวภาพ สกัดจากสมุนไพรร้อยกว่าชนิด เห็ดพิษสิบกว่าสายพันธุ์ หมักกลั่นด้วยเครื่องจักรและเทคโนโลยีชั้นสูง เพื่อให้ได้สมุนไพรที่มีความบริสุทธิ์และประสิทธิภาพสูง ใช้หลักการพิษวิทยา นำสารพิษจากธรรมชาติมาทำลายหนอน,แมลง,เชื้อรา ใช้ป้องกันและกำจัดหนอน,แมลง,เพลี้ยและเชื้อราต่างๆโดยไม่ทำอันตรายต่อสัตว์เลือดอุ่นที่มีกระดูกสันหลัง มีสารจับใบในตัว ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้บริโภค ใช้ได้กับพืชทุกชนิด
- ไร้สารพิษตกค้าง ลดมลภาวะจากการใช้สารเคมี การสะสมสารพิษของเกษตรกร
- ไม่มีแมลงเข้ามารบกวนพืชที่ปลูก
- มีผลผลิตคุณภาพดี ผิวสวย เป็นที่ต้องการของตลาด
- ได้ผลดีโดยเฉพาะพวกแมลง หนอนที่ดื้อยาฆ่าจากสารเคมี
- ทดแทนการใช้สารเคมี ที่นำเข้าจากต่างประเทศ
- ป้องกันและทำลายหนอน,เพลี้ย,แมลงและเชื้อราได้ดีมาก โดยไม่เป็นอันตรายต่อสัตว์เลือดอุ่นที่มีกระดูกสันหลัง
วิธีการใช้ ซุปเปอร์สมุนไพรปูแดง
ชนิดพืช | ช่วงเวลา | อัตราที่ใช้ |
พืชทุกชนิด | ป้องกันก่อนการระบาดของโรคและแมลงต่างๆ | 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร |
พืชทุกชนิด | เมื่อเกิดการระบาดของโรคและแมลง | 60 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร |
หมายเหตุ
@ใช้ร่วมกับไคโตซานดาวปูแดงจะได้ผลดียิ่งขึ้น
@ในกรณีที่เกิดการระบาด ให้ฉีดพ่นซ้ำ 2-3 ครั้ง
กลุ่มของสมุนไพรที่นำมาสกัด
กลุ่มที่1 : ประเภทที่มียอดอ่อนและใบสีแดง ที่อุดมไปด้วยสารพิษในด้านของพิษวิทยาที่ทำลายแมลง,หนอน,เพลี้ย,เชื้อรา โดยไม่ทำอันตรายกับสัตว์เลือดอุ่นที่เลี้ยงลูกด้วยนม
กลุ่มที่2 : ประเภทที่มียาง ประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอน ในกระบวนการผลิตได้ทำปฏิกิริยากับเอทานอล จะได้เอสเทอร์ เพื่อทำลายระบบย่อยอาหาร (เมตาโบลิซึม) ของแมลงประเภทปากกัดและปากดูด
กลุ่มที่3 : ประเภทที่มีกลิ่นหอม ประกอบด้วยน้ำมันหอมระเหย ที่นำมาทำปฏิกิริยากับโซเดี่ยมลอลีเลตซัลเฟต จะเกิดอีมัลชั่น ทำให้ได้สารจับใบและไล่แมลงรวมทั้งป้องกันเชื้อราได้ด้วย
ไร้สารพิษตกค้างไม่มีแมลงเข้ารบกวน ป้องกันและกำจัดเชื้อรา มีสารจับใบในตัว ผลผลิตมีคุณภาพดี ผิวสวย เป็นที่ต้องการของตลาด ลดปัญหาการดื้อยาของแมลง,หนอน,เพลี้ย จากสารเคมี ทดแทนสารเคมีที่นำเข้าจากต่างประเทศ
**************************************************************************
ผงชูรสปูแดง
ผงชูรสปูแดง
คุณสมบัติของผงชูรสปูแดง เป็นสารอาหารของพืชทุกชนิด ชนิดเข้มข้น สกัดจากธรรมชาติ ประกอบด้วย ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม ฮอร์โมน ฮิวมิกแอซิด เป็นฟอสซิลที่มีอายุนับล้านปี เป็นผงละเอียดเป็นสารอินทรีย์วัตถุ เพื่อช่วยแก้ปัญหาเรื่องดินโดยเฉพาะ ปรับปรุงดินให้มีคุณสมบัติเหมาะแก่การปลูกพืช ฟื้นฟูสภาพดินให้เหมือนป่าเปิดใหม่ นอกจากนั้นยังมีกรดอะมิโนทั้ง 18 ชนิด และเป็นปุ๋ยพืชสูตรทางด่วน ซึ่งเป็นสารอาหารครบถ้วนตามที่พืชต้องการ พืชสามารถนำไปใช้ได้เลย ทำให้สามรารถลดการใช้ปุ๋ยได้มากกว่า 50%
ประโยชน์ผงชูรสปูแดง
1. เร่งการเจริญเติบโตของพืช เพิ่มคุณภาพผลผลิต เพิ่มปริมาณผลผลิตให้สูงขึ้น
2. ช่วยปรับสภาพของดินให้ดูดซับน้ำได้ดีขึ้น ดินร่วนซุยขึ้น ทำให้สภาพดินเหมือนป่าเปิดใหม่
3. เร่งการงอกของราก รากเดินได้ยาวขึ้น ทำให้พืชหาอาหารได้มากขึ้น
4. บำรุงรักษาตาดอกของพืชให้สมบูรณ์แข็งแรง
5. ช่วยกระตุ้นเซลพืชให้มีการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
6. ช่วยกระตุ้นการเปิดปากใบ พืชสามารถนำสารอาหารเข้าทางปากใบได้ดียิ่งขึ้น
7. ช่วยลดปริมาณการใช้ปุ๋ยลง 50% ช่วยจับยึดปุ๋ยไม่ให้หนีออกไปนอกเขตรากของพืช
8. เสริมสร้างความแข็งแรงและความต้านทานโรคของพืช
*****************************************************************
อินทรีย์ปูแดง
อินทรีย์ปูแดง
อาหารสูตรทางด่วนผลดก ขั้วเหนียว ใบเขียวเข้ม เป็นสารอาหารจากธรรมชาติชนิดน้ำ เข้มข้น ประกอบด้วย ธาตุอาหารหลัก, ธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม ฮิวมิค กรดอะมิโนอิสระ 18 ชนิด และวิตามินครบถ้วนตามที่พืชต้องการ โดยเฉพาะธาตุอาหารหายากที่พืชมักจะขาดจากการใช้ปุ๋ยทั่วไป พร้อมทั้งมีน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว พืชสามารถนำพาไปใช้ได้ทันที
ประโยชน์อินทรีย์ปูแดง
1. เพิ่มธาตุอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการของพืช โดยเฉพาะธาตุที่พืชมักจะขาด แก้ปัญหาโรคขาดธาตุอาหารของพืช
2. เร่งให้ใบเขียวเข้มและก้านอวบกว่าปรกติ
3. เพิ่มการสะสมอาหารเพื่อการออกดอกและติดผล
4. เร่งให้ผลโตเร็ว เร่งเข้าสี เร่งน้ำหนัก ผลผลิตคุณภาพดี
5. เพิ่มความแข็งแรงของขั้วผล ป้องกันผลร่วง ผลแตก
6. ช่วยให้พืชฟื้นตัวเร็ว โดยเฉพาะพืชปลูกใหม่และพืชที่ระบบรากไม่ดี
7. กระตุ้นการทำงานของพืช เช่น การสังเคราะห์แสง การดูดซับสารอาหารและน้ำของระบบราก
8. ช่วยให้พืชแข็งแรง ป้องกันการเข้าทำลายของโรคและแมลง
วิธีการใช้
ชนิดพืช | ช่วงเวลา | อัตราที่ใช้ |
ไม้ผล | สะสมอาหารก่อนออกดอก ขณะติดผล | 20 ซีซี 40 ซีซี |
พืชผัก
| แช่เมล็ด ระยะต้นกล้า ระยะเติบโต | 20 ซีซี 15 ซีซี 20 ซีซี |
พืชไร่
| แช่เมล็ด ระยะเจริญเติบโต ระยะให้ผลผลิต ก่อนเก็บเกี่ยว | 20 ซีซี 20 ซีซี 30-40 ซีซี |
ไม้ดอกไม้ประดับ | ระยะต้นกล้า ระยะเจริญเติบโต | 10 ซีซี 10-20 ซีซี |
หมายเหตุ : ใช้ตามอัตราที่กำหนด ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุกๆ 7-10 วัน สำหรับพืชที่แสดงอาการขาดธาตุอาหาร ให้เพิ่มปริมาณเป็น 2 เท่า |
ปูแดงไคโตซานสัตว์
ปูแดงไคโตซานสัตว์
ปูแดงไคโตซาน สารสกัดจากเปลือกกุ้งเป็นสารโพลิเมอร์ชีวภาพที่สกัดจากธรรมชาติ 100% จึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้ ต่อผู้บริโภค ไม่เป็นพิษตกค้าง เหมาะสำหรับผสมอาหารสัตว์ หรือผสมน้ำให้สัตว์กิน
ประโยชน์ของไคโตซานสัตว์
1. สัตว์แข็งแรง การเจริญเติบโตเร็ว
2. ช่วยให้ระบบการย่อยอาหารของสัตว์ดีขึ้น ลดต้นทุนของอาหารสัตว์
3. เสริมสร้างให้ภูมิต้านทานโรค แข็งแรง ลดการใช้วัคซีน และสารเคมี
4. ลดกลิ่นเหม็นของมูลสัตว์
5. ลดการรบกวนของแมลง
6. คลุกเคลือบอาหาร ทำให้อาหารละลายช้า ลดการสูญเสียอาหาร ลดการเน่าเสียของน้ำ
7. เป็นสารตั้งต้นในการสร้างเนื้อเยื้อ และเปลือกกุ้ง ช่วยให้ลอกคราบดี เติบโตเร็ว
8. จับตรึงสารพิษในน้ำ ช่วยให้น้ำดีอยู่เสมอ และช่วยยับยั้งเชื้อราในอาหารสัตว์
ตัวอย่างงานวิจัยการใช้ไคโตซานเป็นสารเร่งการเจริญเติบโตของลูกสุกรและสุกรขุน
วิจัยค้นคว้าโดย ดร. ปิยะบุตร วานิชพงษ์พันธ์ และสุวดี จันทร์กระจ่าง
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยจอมเกล้าธนบุรี กรุงเทพฯ
ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะสิ่งแวดล้อมทรัพยากรและการพัฒนา สถาบันเทคโนโลยีแห่งอเชีย ปทุมธานี
รายละเอียด ทดลอง สุกรเล็ก | ไม่ใช้สารไคโตซาน | ใช้สารไคโตซาน | |
จำนวนลูกสุกร
| 38 ตัว12.8 ก.ก. ต่อ ตัว
2.054 ก.ก.
| 38 ตัว12.3 ก. ต่อ ตัว
| |
รายละเอียด ทดลอง สุกรขุน | ไม่ใช้สารไคโตซาน | ใช้สารไคโตซาน 41 วัน | |
จำนวนลูกสุกรขุน
| 41 ตัว
| 41 ตัว
| |
|
|
|
|
สรุปผล ผลการใช้สารไคโตซานกับสุกรเล็กและสุกรขุน 45 , 41 วัน พบว่าน้ำหนักโดยรวมเพิ่มขึ้น FCR ค่าอาหารลดลง ค่ายาปฏิชีวนะลดลงปริมาณมาก สุกรเล็ก สุกรขุน มีสภาพดี สมบูรณ์แข็งแรง เนื้อแน่นน้ำมันน้อย น้ำหนักดี มีความต้านทานต่อโรคสูง และสุกรไม่เครียด จึงทำให้เกษตรกรลดต้นทุนในการเลี้ยง ช่วยเพิ่มมูลค่าผลกำไรงาม และปลอดภัย ปราศจากสารเคมี ฮอร์โมน ยาปฏิชีวนะ สอดคล้องกับการแก้ปัญหา ทางสาธารณะสุข สามารถขจัดสารตกค้างในตัวของสัตว์ ทำให้ผู้บริโภค เนื้อสุกรปลอดภัย
วิธีใช้ปูแดงไคโตซานสัตว์
ลักษณะการใช้งาน | ช่วงเวลา | เงื่อนไขการใช้ |
คลุกอาหาร | ปูแดงไคโตซาน 20 ซี.ซี. กับน้ำ 100ซี.ซี. คลุกเคล้ากับอาหารสัตว์น้ำ 1 ก.ก. ให้ทั่ว แล้วผึ่งในที่ร่มให้แห้ง | เป็นวิธีที่เหมาะกับสัตว์น้ำเช่น กุ้ง ปลา กบ ตะพาบน้ำ ฯลฯ |
ผสมน้ำ | ปูแดง ไคโตซาน 20 ซี.ซี. กับน้ำสะอาด 10 ลิตร | เป็นวิธีที่เหมาะกับสัตว์บกเช่น สุกร ไก่ เป็ด นก วัว แพะ ฯลฯ |
บำบัดน้ำเสีย | ปูแดงไคโตซาน 1 ลิตร ผสมน้ำ 200 ลิตรสาดให้ทั่วบ่อพื้นที่ 1 ไร่ | ใช้แก้ไขปัญหาน้ำเสียในบ่อของสัตว์น้ำ หรือในบ่อบำบัดน้ำเสีย |
*****************************************************************************