ปูแดง,ปูแดง168,ปูแดงไคโตซาน,ปุ๋ยปูแดง,ไคโตซาน,ไคโตซานพืช,ไคโตซานสัตว์,อินทรีย์ปูแดง,สมุนไพรปูแดง,ผงชูรสปูแดง,Poodang,Kitozan,สารไคโตซาน,ตัวแทนจำหน่ายปูแดง,เกษตรปลอดสารพิษ,เกษตรชีวภาพ,ธุรกิจเกษตร,พืชโตไว,เพิ่มผลผลิต,ป้องกันโรค,ป้องกันแมลง,สารปรังปรุงดิน,ชาวสวนไร่นา,ลดปุ๋ย,โอกาสทางธุรกิจ,mlm,ขายตรง,รายได้เสริม,รายได้พิเศษ,ธุรกิจเครือข่าย โทรปรึกษาฟรี 083-0340025
วันศุกร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2552
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ปูแดง เบสท์59
ตั้งอยู่ที่ ถ.แจ้งวัฒนะ41 อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี (เยื้องทางเข้าเมืองทองธานี ให้ท่านเข้ามาจอดรถในซอย41 ได้ทันที เพราะสถานที่จอดอยู่ในซอยนี้)ฅ
รูปบริษัท www.poodang.com/piccompany.htm ,
ูแผนที่ คลิกที่นี่
ตารางสัมมนาและอบรมธุรกิจปูแดง
การอบรมมีทุกวันอาทิตย์
ช่วงเวลารอบเช้า 10.00-12.00 น.
ช่วงเวลารอบบ่าย 12.00-15.00 น.
สถานที่จัดงาน
สำนักงานใหญ่กรุงเทพฯ ชั้น2 (โปรดโทรสำรองที่นั่งก่อน โทร.083-0340025 ไม่มีข้อผูกมัดและค่าใช้จ่ายใดๆ ในการเข้าอบรม)
วิธีใช้ปูแดงไคโตซานกับนาข้าว
*การใช้ผลิตภัณฑ์ปูแดงครบสูตร กับนาข้าว
(อัตรา 20 ซีซี = 1 ฝา = น้ำ 20 ลิตร)
1. ไคโตซาน 20-60 ซีซี กับน้ำ 20 ลิตร ผสมให้เข้ากัน
2. ใส่อินทรีย์ปูแดง 20 ซีซี + สมุนไพรปูแดง 20 ซีซี + ชูรส 2 ช้อนโต๊ะ (นำผงชูรสมาละลายน้ำก่อนนำมาผสมกันและควรกรองป้องกันตะกอนก่อนใส่เครื่องพ่น)
ตารางเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ปูแดง กับ ปุ๋ยเคมีทั่วๆไป
ตารางเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ปูแดง กับ ปุ๋ยเคมีทั่วๆไป | |
การใช้ปุ๋ยเคมีทั่วๆไป | การใช้ปุ๋ยเคมีผสมปุ๋ยอินทรีย์ปูแดง |
1. จะมีฤทธิ์เป็นกรด ยิ่งใช้ ดินก็ยิ่งเป็นกรด ดินจะเสื่อมสภาพลงเรื่อย ๆ | 1. มีฤทธิ์เป็นด่างเล็กน้อย ยิ่งใช้ ปรับสภาพดินให้ เหมาะกับพืชทุกชนิดไว้ใช้ในการเจริญเติบโต ยิ่งใช้ดินก็ยิ่งดีขึ้นเรื่อย ๆ |
2. เป็นปุ๋ยที่ละลายเร็ว สูญเสียได้ง่าย เมื่อฝนตกหรือมีแสงแดดจัด | 2. เป็นปุ๋ยที่ละลายช้า ค่อยๆสลายตัว พืชดูดซึมไปใช้ได้อย่างเต็มที่ |
3. เป็นปุ๋ยที่ช่วยเร่งให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว และหมดฤทธิ์อย่างรวดเร็ว | 3. เป็นปุ๋ยที่ช่วยเร่งให้พืชเจริญเติบโตได้รวดเร็วและออกฤทธิ์ต่อเนื่อง ทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง ปุ๋ยยังอยู่ในดินได้นานหลายเดือน |
4. ไม่มีสารที่ช่วยในการดักจับปุ๋ย ทำให้แสงแดด น้ำฝน อากาศ พัดพาปุ๋ยเคมีให้สูญเสียไป ทำให้ต้นทุนในการผลิตสินค้าเกษตรสูงขึ้น | 4. มีกรดฮิวมิคทำหน้าที่เป็นคีเลตตรึงปุ๋ยให้ยึดติดกับดินไม่ให้น้ำพัดพาไป และปลดปล่อยธาตุอาหารให้พืชเมื่อพืชต้องการใช้ |
5. ยิ่งใช้นานๆ เข้า จะทำให้ดินแข็งทำให้รากพืชเดินไม่สะดวก | 5. ทำให้ดินร่วนซุย รากพืชเดินได้สะดวก |
6. ยิ่งใช้มาก ๆ ขึ้น ก็ยิ่งเกิดโรคมากขึ้น | 6. ทำให้พืชแข็งแรง ต่อต้านโรคได้ดียิ่งขึ้น |
7. ยิ่งใช้แมลงยิ่งมาก ทั้งบนดินและใต้ดิน เพราะแมลงทุก ๆ ชนิดจะชอบสารไนเตรท | 7. ยิ่งใช้แมลงจะลดน้อยลง ทั้งบนดินและใต้ดิน |
8. ยิ่งใช้กับพืชผักผลไม้มากเท่าไร ก็จะทำให้พืชผักผลไม้ยิ่งขาดรสชาติ | 8. ยิ่งใช้ พืชผักผลไม้จะมีรสชาติที่ดีขึ้นเรื่อย ๆ เป็นที่ต้องการของตลาด |
9. ต้องเพิ่มปริมาณปุ๋ยมากขึ้นเรื่อยๆ จึงจะได้ผลผลิตเท่าเดิม | 9. ยิ่งใช้ผลผลิตยิ่งเพิ่มขึ้น อายุการให้ผลผลิตก็จะมากขึ้น |
10. ยิ่งใช้ ธาตุอาหารและจุลินทรีย์จะหมดไปเรื่อยๆ | 10. ธาตุอาหารและจุลินทรีย์จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สามารถลดปริมาณปุ๋ยเคมีน้อยลงเรื่อยๆ |
หน้าที่สำคัญของธาตุอาหารในพืช
หน้าที่สำคัญของธาตุอาหารของพืช
ธาตุอาหาร | หน้าที่ |
ไนโตรเจน N | เร่งการเจริญเติบโตทุกส่วนของพืช |
ฟอสฟอรัส P | เร่งการเจริญเติบโตของรากอ่อน ใบอ่อน |
โปแตสเซี่ยม K | เร่งการเคลื่อนย้ายน้ำตาล ความคุมการสะสมอาหาร |
แคลเซี่ยม Ca | เป็นส่วนประกอบของผนังเซล ทำให้เซลแข็งแรง ทำให้ผลไม่แตกเมื่อขยายผล |
แมกนีเซี่ยม Mg | เพิ่มปริมาณของคลอโรฟิลล์ เร่งการสังเคราะห์แสงของพืช |
กำมะถัน S | เป็นส่วนประกอบของกรดอะมิโนที่จะเป็นสำหรับพืช ช่วยการทำงานของคลอโรฟิลล์ |
เหล็ก Fe | เสริมสร้างคลอโรฟิลล์ เร่งการสร้างแป้งและน้ำตาล |
ทองแดง Cu | เร่งการทำงานของเอ็นไซม์ ช่วยการติดตอกติดผล |
สังกะสี Zn | ช่วยให้พืชทนอากาศหนาวได้ดี ช่วยในการสร้างคลอโรฟิลล์ |
แมงกานีส Mn | เร่งการเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาล เร่งความหวาน |
โมลิบดินัม Mo | ช่วยในการเปลี่ยนสารไนเตรทเป็นโปรตีนหรือน้ำตาล |
โบรอน B | ช่วยในการติดดอกและช่วยในการขยายขนาดผล เนื้อแน่น |
คลอรีน Cl | ส่งเสริมการเปลี่ยนไนเตรทเป็นแอมโมเนียและอินทรีย์สาร |
ตัวอย่างงานวิจัยการใช้ไคโตซานเป็นสารเร่งการเจริญเติบโตของลูกสุกรและสุกรขุน
ตัวอย่างงานวิจัยการใช้ไคโตซานเป็นสารเร่งการเจริญเติบโตของลูกสุกรและสุกรขุน
วิจัยค้นคว้าโดย ดร. ปิยะบุตร วานิชพงษ์พันธ์ และสุวดี จันทร์กระจ่าง
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยจอมเกล้าธนบุรี กรุงเทพฯ
ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะสิ่งแวดล้อมทรัพยากรและการพัฒนา สถาบันเทคโนโลยีแห่งอเชีย ปทุมธานี
รายละเอียด ทดลอง สุกรเล็ก | ไม่ใช้สารไคโตซาน | ใช้สารไคโตซาน |
จำนวนลูกสุกร
| 38ตัว12.8 ก.ก. ต่อ ตัว
2.054 ก.ก.
| 38 ตัว12.3 ก. ต่อ ตัว
|
รายละเอียด ทดลอง สุกรขุน | ไม่ใช้สารไคโตซาน | ใช้สารไคโตซาน 41 วัน |
จำนวนลูกสุกรขุน
| 41 ตัว
| 41 ตัว
|
สรุปผล ผลการใช้สารไคโตซานกับสุกรเล็กและสุกรขุน 45 , 41 วัน พบว่าน้ำหนักโดยรวมเพิ่มขึ้น FCR ค่าอาหารลดลง ค่ายาปฏิชีวนะลดลงปริมานมาก สุกรเล็ก สุกรขุน มีสภาพดี สมบูรณ์แข็งแรง เนื้อแน่นน้ำมันน้อย น้ำหนักดี มีความต้านทานต่อโรคสูง และสุกรไม่เครียด จึงทำให้เกษตรกรลดต้นทุนในการเลี้ยง ช่วยเพิ่มมูลค่าผลกำไรงาม และปลอดภัย ปราศจากสารเคมี ฮอร์โมน ยาปฏิชีวนะ สอดคล้องกับการแก้ปัญหา ทางสาธารณะสุข สามารถขจัดสารตกค้างในตัวของสัตว์ ทำให้ผู้บริโภค เนื้อสุกรปลอดภัย
ตารางเปรียบเทียบปูแดงไคโตซาน และไคโตซานอื่นๆ
ตารางเปรียบเทียบปูแดงไคโตซาน และไคโตซานอื่นๆ | |
ปูแดง ไคโตซาน | ไคโตซาน อื่นๆ |
1. ธรรมชาติ 100%
| 1. ธรรมชาติ/ไม่ใช่ธรรมชาติ
|
ประโยชน์ปุ๋ยอินทรีย์ปูแดง
1.ช่วยปรับโครงสร้างของดิน ทำให้ดินร่วนซุย ดินโปร่ง สามารถซับน้ำความชุ่มชื้นได้ดี
2ช่วยให้จุลินทรีย์ในดินเจริญเติบโตและสร้างปริมาณมากขึ้น เพื่อทำงานที่เป็นประโยชน์แก่ดินและพืชที่ปลูก
3.ช่วยดูดซับธาตุอาหารในดินไว้และยังทำหน้าที่ดูดซับปุ๋ยเคมีที่ใส่ในดินให้ทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นไม่ให้สูญหาย หรือสลายไปเร็ว ( เป็นปุ๋ยอินทรีย์ ที่มีธาตุอาหารครบ สามารถใช้เดี่ยว หรือใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมีก็ได้)
4.ช่วยประหยัดการใช้ปุ๋ยเคมีให้น้อยลง ไม่ทำให้ดินแข็งและเป็นกรดหรือด่าง เป็นการลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยและการผลิตของเกษตรกรโดยตรง (การใช้เกษตรอินทรีย์ จะทำให้ดินดีเพิ่มผลผลิตขึ้นเรื่อยๆ )
5.พืชสามารถนำอาหารใช้ได้ทันทีเพราะเป็นปุ๋ยเย็น มีธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรองและจุลธาตุครบ|
6.ใช้ได้ทั้งพืชผักสวนครัว พืชไร่ ไม้ผลต่างๆ และนาข้าว ข้าวโพด สวนปาล์ม สวนยางพารา
7.มีส่วนผสมของฮิวมิกซ์แอซิส ,ไคโตซาน และสารซิลิกอน ทำให้ผนังเซลล์พืชแข็งแรง โดยเฉพาะในข้าว ,ข้าวโพด เมื่อผนังเซลล์พืชแข็งแรงมากขึ้น ส่งผลให้ลำต้นแข็งไม่หักล้มง่าย
8.ลดต้นทุน ทำให้พืชมีภูมิต้านทานโรค ลดการใช้ยา ปลอดภัยต่อสุขภาพ ช่วยเพิ่มผลผลิต มีรายได้เพิ่ม
ธาตุอาหารหลัก : ไนโตรเจน(N) ฟอสฟอรัส(P) โปรแตสเซี่ยม(K)
ธาตุอาหารรอง : แคลเซี่ยม(Ca) แมกนีเซี่ยม(Mg) กำมะถัน(S)
ธาตุอาหารเสริม : แมงกานีส(Mn) โมลิปตินัม(Mo) สังกะสี(Z) คลอรีน(Cl) โบรอน(B) เหล็ก(Fe) ทองแดง(Cu) นิเกิล(Ni) อินทรีย์วัตถุ(Om) ออแกนิคคาร์บอนด์(Oc) แร่ธาตุ วิตามิน และฮอร์โมนต่างๆ
ประโยชน์ปูแดงไคโตซานพืช
ประโยชน์ปูแดงไคโตซานพืช
1. เคลือบเมล็ดพันธ์
· ป้องกันเชื้อรา
· ป้องกันและกำจัดโรคที่จะเข้าทำลายเมล็ดและต้นอ่อน
· เพิ่มเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ด
2. เร่งรากสำหรับกิ่งชำหรือกิ่งตอน
· แช่ปลายกิ่งชำ
· ทาน้ำยาเข้มข้นที่บริเวณรอยควั่น
3. ป้องกันและกำจัดแมลง
· กลิ่นเฉพาะของไคโตซาน แมลงเมื่อได้กลิ่นจะบินหนี
· ทำให้พืชผลิตน้ำย่อย ไคติเนส (chitinase)
4. ป้องกันและกำจัดโรคพืช
· ช่วยเสริมให้พืชสร้างสารต่อต้านโรคพืช เช่น ไฟโตอะเล็กซิน , ไคติเนส
· มีผลให้เชื้อราอ่อนแอลงเนื่องจากสร้าง RNA ได้น้อยลง
5. เป็นปุ๋ยให้แก่พืช
· เป็นสารธรรมชาติที่ไม่เสถียรย่อยสลายได้ง่าย
· ปลดปล่อยธาตุไนโตรเจน(N) แก่ดิน และตรึง N พืชให้ได้รับกระบวนการตรึงไนโตรเจนของไรโซเบียมในปมราก
· สามารถดูดซึมธาตุอาหารพืชในดินหลายชนิด, โปแตสเซียม, แมกนีเซียม, ฟอสเฟต, แคลเซียม, เหล็ก,ไนเตรท, ปลดปล่อยให้แก่พืชอย่างช้าๆ ตามตามความจำเป็น และความต้องการของพืช
· ดินที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก PH 5.5 – 6.3
· ฟื้นฟูจุลินทรีย์ในดิน Effective micro, organisms, Actiomycetes. Sp, Trichoderma spp., Zymogenous.
· ลดปริมาณจุลินทรีย์ที่เป็นโรคพืช, Furarium, Phythopthora sp.