วันศุกร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2552

ตัวอย่างงานวิจัยการใช้ไคโตซานเป็นสารเร่งการเจริญเติบโตของลูกสุกรและสุกรขุน

ตัวอย่างงานวิจัยการใช้ไคโตซานเป็นสารเร่งการเจริญเติบโตของลูกสุกรและสุกรขุน

วิจัยค้นคว้าโดย ดร. ปิยะบุตร วานิชพงษ์พันธ์ และสุวดี จันทร์กระจ่าง
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยจอมเกล้าธนบุรี กรุงเทพฯ
ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะสิ่งแวดล้อมทรัพยากรและการพัฒนา สถาบันเทคโนโลยีแห่งอเชีย ปทุมธานี

รายละเอียด ทดลอง สุกรเล็ก

ไม่ใช้สารไคโตซาน

ใช้สารไคโตซาน

จำนวนลูกสุกร
เฉลี่ย ต่อ ตัว (ก่อนใช้)
เฉลี่ย ต่อ ตัว (หลังใช้เพิ่มขึ้น)
เฉลี่ย เพิ่มขึ้น ต่อตัว
เฉลี่ย โต ต่อวัน
FCR
อัตราการแลกเนื้อต่ออาหาร
ตาย
ยาปฏิชีวนะ

38ตัว12.8 ก.ก. ต่อ ตัว
39.08
ก.ก.
26.28
ก.ก.
584
กรัม

2.054 ก.ก.
2
ตัว (54 ก.ก.)
38
ตัว 186 ซีซี.

38 ตัว12.3 ก. ต่อ ตัว
41.40
ก.ก.
29.10
ก.ก.
646
กรัม

1.888
ก.ก.
1
ตัว ( 195 ก.ก. )
38
ตัว 81 ซีซี

รายละเอียด ทดลอง สุกรขุน

ไม่ใช้สารไคโตซาน

ใช้สารไคโตซาน 41 วัน

จำนวนลูกสุกรขุน
เฉลี่ย ต่อ ตัว (ก่อนใช้)
เฉลี่ย ต่อ ตัว (หลังใช้)
เฉลี่ย เพิ่มขึ้น ต่อตัว
เฉลี่ย โต ต่อวัน
FCR
ใช้อาหารสุกร
ยาปฏิชีวนะ

41 ตัว
61.53
ก.ก.
94.82
ก.ก.
33.29
ก.ก.
812
กรัมก.ก.
2.63
ก.ก.
41
ตัว 235 ซีซี.

41 ตัว
57.91
ก.ก.
98.62
ก.ก.
40.71
ก.ก.
993
กรัม
2.47
ก.ก.
41
ตัว 105 ซีซี.

สรุปผล ผลการใช้สารไคโตซานกับสุกรเล็กและสุกรขุน 45 , 41 วัน พบว่าน้ำหนักโดยรวมเพิ่มขึ้น FCR ค่าอาหารลดลง ค่ายาปฏิชีวนะลดลงปริมานมาก สุกรเล็ก สุกรขุน มีสภาพดี สมบูรณ์แข็งแรง เนื้อแน่นน้ำมันน้อย น้ำหนักดี มีความต้านทานต่อโรคสูง และสุกรไม่เครียด จึงทำให้เกษตรกรลดต้นทุนในการเลี้ยง ช่วยเพิ่มมูลค่าผลกำไรงาม และปลอดภัย ปราศจากสารเคมี ฮอร์โมน ยาปฏิชีวนะ สอดคล้องกับการแก้ปัญหา ทางสาธารณะสุข สามารถขจัดสารตกค้างในตัวของสัตว์ ทำให้ผู้บริโภค เนื้อสุกรปลอดภัย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น